แนวคิดเชิงคำนวณ
แนวคิดเชิงคำนวณ (computational) ไม่ใช่การคิดเหมือนหุ่นยนต์หรือการเขียนโปรแกรมโดยผู้เชียวชาญแต่เป็นทักษะที่มุ่งเน้นการคิดเชิงตรรกะ คือ สามารถอธิบายการคิดเชิงคำนวณอย่างเป็นระบบหรือเป็นการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบเพื่อให้ได้มาซึ่งวิธีการแก้ไขปัญหาที่ทั้งมนุษย์และคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจร่วมกันได้
แนวคิดเชิงคำนวณ
1. แนวคิดการย่อย(Decomposition) แนวคิดการย่อย เช่น แตกปัญหากระบวนการออกเป็นส่วนย่อยเพื่อให้จัดการปัญหาได้ง่ายขึ้น
2.แนวคิดการจดจำรูปแบบ(Pattern Recognition) แนวคิดการจดจำรูปแบบ เพื่อดูความเหมือน ความแตกต่างของรูปแบบการเปลี่ยนแปลง ทำให้ทราบแนวโน้มเพื่อทำนายไปข้างหน้าได้
3.แนวคิดเชิงนามธรรม(Abstraction) แนวคิดเชิงนามธรรม เป็นทักษะสำคัญที่มุ่งเน้นความสำคัญของปัญหา โดยไม่สนใจรายละเอีียดที่ไม่จำเป็น และต่อยอดให้เกิดแบบจำลองหรือสูตร
4.แนวคิดการออกแบบขั้นตอน(Algorithm Design) แนวคิดการออกแบบขั้นตอนในการแก้ปัญหา ทำให้ทราบว่าจะต้องทำอะไรก่อนอะไรหลัง
แนวคิดเชิงคำนวณ
1. แนวคิดการย่อย(Decomposition) แนวคิดการย่อย เช่น แตกปัญหากระบวนการออกเป็นส่วนย่อยเพื่อให้จัดการปัญหาได้ง่ายขึ้น
2.แนวคิดการจดจำรูปแบบ(Pattern Recognition) แนวคิดการจดจำรูปแบบ เพื่อดูความเหมือน ความแตกต่างของรูปแบบการเปลี่ยนแปลง ทำให้ทราบแนวโน้มเพื่อทำนายไปข้างหน้าได้
3.แนวคิดเชิงนามธรรม(Abstraction) แนวคิดเชิงนามธรรม เป็นทักษะสำคัญที่มุ่งเน้นความสำคัญของปัญหา โดยไม่สนใจรายละเอีียดที่ไม่จำเป็น และต่อยอดให้เกิดแบบจำลองหรือสูตร
4.แนวคิดการออกแบบขั้นตอน(Algorithm Design) แนวคิดการออกแบบขั้นตอนในการแก้ปัญหา ทำให้ทราบว่าจะต้องทำอะไรก่อนอะไรหลัง
แนวคิดเชิงคำนวณประกอบด้วยลำดับการใช้ทักษะย่อย 4 ทักษะ ดังนี้
1. แนวคิดการย่อย(Decomposition) แตกปัญหากระบวนการออกเป็นส่วนย่อยเพื่อให้จัดการปัญหาได้ง่ายขึ้น ทักษะนี้เทียบเท่ากับการคิดวิเคราะห์
2.แนวคิดการจดจำรูปแบบ(Pattern Recognition) กำหนดแบบแผนจากปัญหาต่างๆ จากปัญหาที่มีรูปแบบที่หลากหลายโดยปัญหาต่างๆ มักมีรูปแบบที่คล้ายคลึงกัน กล่าวคือหากเราเข้าใจปัญหา จะพบว่าปัญหาที่แตกต่างกัน สมารถใช้วิธีการในการแก้ปัญหาแบบเดียวกันได้ ทักษะนี้เทียบเท่ากับการคิดวิเคราะห์แบบเชื่อมโยง
3.แนวคิดเชิงนามธรรม(Abstraction) การหาแนวคิดเชิงนามธรรมหรือการนิยาม เพื่อหาแนวคิดรวบยอดของแต่ละปัญหาย่อย เป็นการมุ่งเน้นความสำคัญของปัญหาโดยไม่สนใจรายละเอียดที่ไม่จำเป็น เพื่อให้สามารถเข้าใจถึงแก่นแท้ของปัญหา ทักษะนี้เทียบเท่ากับการคิดสังเคราะห์ จนได้มาซึ่งแบบจำลอง(Model) เช่น แบบจำลองต่างๆ แบบจำลองคณิตศาสตร์ ในรูปของสมการหรือสูตร เป็นต้น
4.แนวคิดการออกแบบขั้นตอน(Algorithm Design) ออกแบบลำดับขั้นตอนการแก้ปัญหาด้วยการคิดเชิงอัลกอริทึม เป็นความคิดพื้นฐานในการสร้างชุดของลำดับขั้นตอนวิธีง่ายๆ ที่ทุกคนสามารถนำไปใช้ในการแก้ปัญหาที่มีลักษณะแบบเดียวกันได้
1. แนวคิดการย่อย(Decomposition) แตกปัญหากระบวนการออกเป็นส่วนย่อยเพื่อให้จัดการปัญหาได้ง่ายขึ้น ทักษะนี้เทียบเท่ากับการคิดวิเคราะห์
2.แนวคิดการจดจำรูปแบบ(Pattern Recognition) กำหนดแบบแผนจากปัญหาต่างๆ จากปัญหาที่มีรูปแบบที่หลากหลายโดยปัญหาต่างๆ มักมีรูปแบบที่คล้ายคลึงกัน กล่าวคือหากเราเข้าใจปัญหา จะพบว่าปัญหาที่แตกต่างกัน สมารถใช้วิธีการในการแก้ปัญหาแบบเดียวกันได้ ทักษะนี้เทียบเท่ากับการคิดวิเคราะห์แบบเชื่อมโยง
3.แนวคิดเชิงนามธรรม(Abstraction) การหาแนวคิดเชิงนามธรรมหรือการนิยาม เพื่อหาแนวคิดรวบยอดของแต่ละปัญหาย่อย เป็นการมุ่งเน้นความสำคัญของปัญหาโดยไม่สนใจรายละเอียดที่ไม่จำเป็น เพื่อให้สามารถเข้าใจถึงแก่นแท้ของปัญหา ทักษะนี้เทียบเท่ากับการคิดสังเคราะห์ จนได้มาซึ่งแบบจำลอง(Model) เช่น แบบจำลองต่างๆ แบบจำลองคณิตศาสตร์ ในรูปของสมการหรือสูตร เป็นต้น
4.แนวคิดการออกแบบขั้นตอน(Algorithm Design) ออกแบบลำดับขั้นตอนการแก้ปัญหาด้วยการคิดเชิงอัลกอริทึม เป็นความคิดพื้นฐานในการสร้างชุดของลำดับขั้นตอนวิธีง่ายๆ ที่ทุกคนสามารถนำไปใช้ในการแก้ปัญหาที่มีลักษณะแบบเดียวกันได้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น